Learning Log 3
Thursday 24th January 2019
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ
และนำใบงานกิจกรรมจากสัปดาห์ที่แล้วมาจัดเรียง ดังนี้
✨ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ ✨
🌠 ทฤษฎีพัฒนาการ
🔸 พัฒนาการทางศิลปะของโลเวนเฟลด์ ( Lowenfeld)
🌠 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
🔸 ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกิลฟอร์ด (Guiford)
อธิบายความสามารถของสมองออกเป็น 3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา ➔ มิติเกี่ยวกับข้อมูล หรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด
■ สมองรับเข้าไปคิด พิจารณา 4 ลักษณะ
- ภาพ
- สัญลักษณ์
- ภาษา
- พฤติกรรม
มิติที่ 2 วิธีการคิด ➔ มิติที่แสดงลักษณะการทำงานของสมองใน 5 ลักษณะ
- การรู้จัก การเข้าใจ
- การจำ
- การคิดแบบอเนกนัย (คิดได้หลายรูปแบบ หลากหลาย)
- การคิดแบบเอกนัย (ตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุด)
- การประเมินค่า
มิติที่ 3 ผลของการคิด ➔ มิติที่แสดงถึงผลที่ได้จากการทำงานของสมอง จากมิติที่ 1 + มิติที่2
■ มี 6 ลักษณะ
- หน่วย
- จำพวก
- ความสัมพันธ์
- ระบบ
- การแปลงรูป
- การประยุกต์
🔸 ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์ (Torrance)
แบ่งลำดับขั้นการคิดสร้างสรรค์ เป็น 5 ขั้น
- ขั้นการค้นพบความจริง
- ขั้นการค้นพบปัญหา
- ขั้นการตั้งสมมุติฐาน
- ขั้นการค้นพบคำตอบ
- ขั้นยอมรับผลจากการค้นพบ
🔸 ทฤษฎีความรู้สองลักษณะ (สมองสองซีก)
การทำของสมองสองซีก ทำงานแตกต่างกัน
♦ สมองซีกซ้าย ➨ ทำงานส่วนของการคิดที่เป็นเหตุผล
♦ สมองซีกขวา ➨ ทำงานส่วนของจิตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
🔸 ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ (Gardner)
จำแนกความสามารถหรือสติปัญญาของคนเอาไว้ 9 ด้าน ได้แก่
- ความสามารถด้านภาษา
- ความสามารถด้านตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์
- ความสามารถด้านดนตรี
- ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์
- ความสามารถด้านกีฬาและการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
- ความสามารถด้านมนุษย์สัมพันธ์
- ความสามารถด้านจิตวิเคราะห์
- ความสามารถด้านธรรมชาติศึกษา
- ความสามารถในการคิดพลิกแพลงแตกต่างในการแก้ปัญหา
🔸 ทฤษฎีโอตา (Auta) เดวิส(Davis) และซัลลิแวน (Sullivan)
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามรูปแบบโอตา มีลำดับการพัฒนา 4 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 การตระหนัก ➔ ต้องตระหนักถึงความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อตนเองทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 2 ความเข้าใจ ➔ มีความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องต่างๆ
ขั้นตอนที่ 3 เทคนิควิธี ➔ การรู้เทคนิควิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทั้งที่เป็นเทคนิคส่วนบุคคลและเทคนิคที่เป็นมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 4 การตระหนักในความจริงของสิ่งต่างๆ ➔ การรู้จักหรือตระหนักในตนเอง พอใจในตนเอง สามารถดึงศักยภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
✨ พัฒนาการทางศิลปะ ✨
🌠 วงจรของการขีดๆเขียนๆ
เคลล็อก (Kellogg) ศึกษางานขีดๆเขียนๆของเด็กปฐมวัย และจำแนกขั้นตอนออกเป็น 4 ขั้นตอน ทำให้เข้าใจถึงความสำคัญของงานขีดๆเขียนๆทางศิลปะที่มีผลเชื่อมโยงกับพัฒนาการของเด็ก 4 ขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นขีดเขี่ย ขั้นเขียนเป็นรูปร่าง ขั้นรู้จักออกแบบ และขั้นการวาดแสดงเป็นภาพ
🔸 ขั้นที่ 1 ขั้นขีดเขี่ย (placement stage)
- เด็กวัย 2 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆตามธรรมชาติ
- ขีดเขี่ยเป็นเส้นตรงบ้าง โค้งบ้าง
- ขีดโดยปราศจากการควบคุม
🔸 ขั้นที่ 2 ขั้นเขียนเป็นรูปร่าง (shape stage)
- เด็กวัย 3 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆเริ่มเป็นรูปร่างขึ้น
- เขียนวงกลมได้
- ควบคุมมือกับตาให้สัมพันธ์กันมากขึ้น
🔸 ขั้นที่ 3 ขั้นรู้จักออกแบบ (design stage)
- เด็กวัย 4 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆที่เป็นรูปร่างเข้าด้วยกัน
- วาดโครงสร้างหรือเค้าโครงได้
-วาดสี่เหลี่ยมได้
🔸 ขั้นที่ 4 ขั้นการวาดแสดงเป็นภาพ (pictorial stage)
- เด็กวัย 5 ขวบขึ้นไป
- เริ่มแยกแยะวัตถุที่เหมือนกับมาตรฐานของผู้ใหญ่ได้
- รับรู้ความเป็นจริง เขียนภาพแสดงถึงภาพคน/สัตว์ได้
- ควบคุมการขีดเขียนได้ดี
- วาดสามเหลี่ยมได้
🌠 พัฒนาการด้านร่างกาย
🔸 การพับ
- อายุ 3-4 ปี พับและรีดสันกระดาษสองทบตามแบบได้
- อายุ 4-5 ปี พับและรีดสันกระดาษสามทบตามแบบได้
- อายุ 5-6 ปี พับและรีดสันกระดาษได้คล่องแคล่ว หลายแบบ
🔸 การวาด
- อายุ 3-4 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ขา ปาก
- อายุ 4-5 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ปาก จมูก ปาก ลำตัว เท้า
- อายุ 5-6 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ปาก ลำตัว เท้า จมูก แขน มือ คอ ผม
ต่อมาอาจารย์ได้ให้นำแต่ละใบงานที่ทำในสัปดาห์ที่แล้วนำมาจัดเรียงกัน ดังนี้
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ
และนำใบงานกิจกรรมจากสัปดาห์ที่แล้วมาจัดเรียง ดังนี้
✨ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ ✨
🌠 ทฤษฎีพัฒนาการ
🔸 พัฒนาการทางศิลปะของโลเวนเฟลด์ ( Lowenfeld)
🌠 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
🔸 ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกิลฟอร์ด (Guiford)
อธิบายความสามารถของสมองออกเป็น 3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา ➔ มิติเกี่ยวกับข้อมูล หรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด
■ สมองรับเข้าไปคิด พิจารณา 4 ลักษณะ
- ภาพ
- สัญลักษณ์
- ภาษา
- พฤติกรรม
มิติที่ 2 วิธีการคิด ➔ มิติที่แสดงลักษณะการทำงานของสมองใน 5 ลักษณะ
- การรู้จัก การเข้าใจ
- การจำ
- การคิดแบบอเนกนัย (คิดได้หลายรูปแบบ หลากหลาย)
- การคิดแบบเอกนัย (ตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุด)
- การประเมินค่า
มิติที่ 3 ผลของการคิด ➔ มิติที่แสดงถึงผลที่ได้จากการทำงานของสมอง จากมิติที่ 1 + มิติที่2
■ มี 6 ลักษณะ
- หน่วย
- จำพวก
- ความสัมพันธ์
- ระบบ
- การแปลงรูป
- การประยุกต์
🔸 ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์ (Torrance)
แบ่งลำดับขั้นการคิดสร้างสรรค์ เป็น 5 ขั้น
- ขั้นการค้นพบความจริง
- ขั้นการค้นพบปัญหา
- ขั้นการตั้งสมมุติฐาน
- ขั้นการค้นพบคำตอบ
- ขั้นยอมรับผลจากการค้นพบ
🔸 ทฤษฎีความรู้สองลักษณะ (สมองสองซีก)
การทำของสมองสองซีก ทำงานแตกต่างกัน
♦ สมองซีกซ้าย ➨ ทำงานส่วนของการคิดที่เป็นเหตุผล
♦ สมองซีกขวา ➨ ทำงานส่วนของจิตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
🔸 ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ (Gardner)
จำแนกความสามารถหรือสติปัญญาของคนเอาไว้ 9 ด้าน ได้แก่
- ความสามารถด้านภาษา
- ความสามารถด้านตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์
- ความสามารถด้านดนตรี
- ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์
- ความสามารถด้านกีฬาและการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
- ความสามารถด้านมนุษย์สัมพันธ์
- ความสามารถด้านจิตวิเคราะห์
- ความสามารถด้านธรรมชาติศึกษา
- ความสามารถในการคิดพลิกแพลงแตกต่างในการแก้ปัญหา
🔸 ทฤษฎีโอตา (Auta) เดวิส(Davis) และซัลลิแวน (Sullivan)
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามรูปแบบโอตา มีลำดับการพัฒนา 4 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 การตระหนัก ➔ ต้องตระหนักถึงความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อตนเองทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 2 ความเข้าใจ ➔ มีความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องต่างๆ
ขั้นตอนที่ 3 เทคนิควิธี ➔ การรู้เทคนิควิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทั้งที่เป็นเทคนิคส่วนบุคคลและเทคนิคที่เป็นมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 4 การตระหนักในความจริงของสิ่งต่างๆ ➔ การรู้จักหรือตระหนักในตนเอง พอใจในตนเอง สามารถดึงศักยภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
✨ พัฒนาการทางศิลปะ ✨
🌠 วงจรของการขีดๆเขียนๆ
เคลล็อก (Kellogg) ศึกษางานขีดๆเขียนๆของเด็กปฐมวัย และจำแนกขั้นตอนออกเป็น 4 ขั้นตอน ทำให้เข้าใจถึงความสำคัญของงานขีดๆเขียนๆทางศิลปะที่มีผลเชื่อมโยงกับพัฒนาการของเด็ก 4 ขั้นตอน มีดังนี้ ขั้นขีดเขี่ย ขั้นเขียนเป็นรูปร่าง ขั้นรู้จักออกแบบ และขั้นการวาดแสดงเป็นภาพ
🔸 ขั้นที่ 1 ขั้นขีดเขี่ย (placement stage)
- เด็กวัย 2 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆตามธรรมชาติ
- ขีดเขี่ยเป็นเส้นตรงบ้าง โค้งบ้าง
- ขีดโดยปราศจากการควบคุม
🔸 ขั้นที่ 2 ขั้นเขียนเป็นรูปร่าง (shape stage)
- เด็กวัย 3 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆเริ่มเป็นรูปร่างขึ้น
- เขียนวงกลมได้
- ควบคุมมือกับตาให้สัมพันธ์กันมากขึ้น
🔸 ขั้นที่ 3 ขั้นรู้จักออกแบบ (design stage)
- เด็กวัย 4 ขวบ
- ขีดๆเขียนๆที่เป็นรูปร่างเข้าด้วยกัน
- วาดโครงสร้างหรือเค้าโครงได้
-วาดสี่เหลี่ยมได้
🔸 ขั้นที่ 4 ขั้นการวาดแสดงเป็นภาพ (pictorial stage)
- เด็กวัย 5 ขวบขึ้นไป
- เริ่มแยกแยะวัตถุที่เหมือนกับมาตรฐานของผู้ใหญ่ได้
- รับรู้ความเป็นจริง เขียนภาพแสดงถึงภาพคน/สัตว์ได้
- ควบคุมการขีดเขียนได้ดี
- วาดสามเหลี่ยมได้
🌠 พัฒนาการด้านร่างกาย
🔸 การพับ
- อายุ 3-4 ปี พับและรีดสันกระดาษสองทบตามแบบได้
- อายุ 4-5 ปี พับและรีดสันกระดาษสามทบตามแบบได้
- อายุ 5-6 ปี พับและรีดสันกระดาษได้คล่องแคล่ว หลายแบบ
🔸 การวาด
- อายุ 3-4 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ขา ปาก
- อายุ 4-5 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ปาก จมูก ปาก ลำตัว เท้า
- อายุ 5-6 ปี วาดภาพคนมีศีรษะ ตา ปาก ลำตัว เท้า จมูก แขน มือ คอ ผม
ต่อมาอาจารย์ได้ให้นำแต่ละใบงานที่ทำในสัปดาห์ที่แล้วนำมาจัดเรียงกัน ดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น